เลขที่ | 48 |
---|---|
หมวดหมู่ | เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน@ |
ประเภท | กรอบความตกลง |
ชื่อภาษาไทย | กรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน |
ชื่อภาษาอังกฤษ | ASEAN Framework Agreement for the Integration of Priority Sectors |
สถานที่ลงนาม | กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว |
วันที่ลงนาม / วันที่ได้รับการลงมติยอมรับ | 29 พฤศจิกายน 2547 |
สถานะการให้สัตยาบัน | ไทยได้ส่งหนังสือ (Letter of Notification) แจ้งความพร้อมในการดำเนินการออกกฎหมายภายในเพื่อดำเนินการตามกรอบความตกลงต่อเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2548 |
การเริ่มมีผลบังคับใช้ | มาตรา 26 กรอบความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้นับแต่วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2548 |
สถานะการมีผลบังคับใช้ | มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2548 |
สาระสำคัญ | กรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน และพิธีสารรายสาขา (ASEAN Sectoral Integration Protocols) มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดมาตราการร่วมที่จะใช้ในการรวมตัวกลุ่มสินค้าและบริการสำคัญ 11 สาขา เป็นสาขานำร่อง (ภายหลังได้มีการเพิ่มสาขาโลจิสติกส์ เป็นสาขาที่ 12) ซึ่งถือว่าเป็นการเปิดเสรีด้านการค้าและบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานกันผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียนด้วยกัน |
กฏหมายที่เกี่ยวข้อง |
ข้อมูลประชาคมอาเซียน
● ประวัติอาเซียน
● วิสัยทัศน์อาเซียน
● กฎบัตรอาเซียน
● สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
● ประธานอาเซียน
● เลขาธิการอาเซียน
รัฐสภาไทยกับอาเซียน
● การเยือนประเทศสมาชิก
● การรับรองบุคคลสำคัญ
● สมัชชารัฐสภาอาเซียน AIPA
● กลุ่มมิตรภาพ
● พลเมืองอาเซียน
● อินไซต์อาเซียนและรอบโลก
○ อินไซต์อาเซียนการวิจัยและพัฒนากฎหมาย
● งานวิจัยและพัฒนากฏหมาย
● งานวิชาการ
○ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง● เอกสารวิชาการอื่นๆ
กฎหมายเปรียบเทียบ
● รัฐธรรมนูญของประเทศสมาชิกอาเซียน
● การเสริมสร้างความร่วมมือในภูมิภาคในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
● ความร่วมมือในภูมิภาคในเรื่องการต่อต้านอาชญากรรมทางไซเบอร์
● ความร่วมมือทางอาญาในภูมิภาคอาเซียนในเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
● พันธกรณีตาม ASEAN Economic Economy Blueprint 2025
● การศึกษาเปรียบเทียบกลไกระงับข้อพิพาทการลงทุนหรือกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ
● การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
● กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันที่เป็นธรรมทางการค้า
● ทรัพย์สินทางปัญญา
● การยอมรับและการบังคับคดีตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ
● การอำนวยความสะดวกทางการค้า
● พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ของอาเซียน
● มาตรฐานแรงงานในอาเซียน
● กฎหมายตามพันธกรณีความร่วมมือของประชาคมอาเซียนด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
● การยอมรับและการบังคับคดีให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศในคดีแพ่งหรือพาณิชย์
● การรับรองความถูกต้องแท้จริงของเอกสารราชการ