เลขที่ | 68.1 |
---|---|
หมวดหมู่ | เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน@ |
ประเภท | ความตกลง |
ชื่อภาษาไทย | ความตกลงอาเซียนด้านศุลกากร |
ชื่อภาษาอังกฤษ | ASEAN Agreement on Customs (ACC) |
สถานที่ลงนาม | จังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย |
วันที่ลงนาม / วันที่ได้รับการลงมติยอมรับ | 1 มีนาคม 2540 |
สถานะการให้สัตยาบัน | |
การเริ่มมีผลบังคับใช้ | มาตรา 13 ความตกลงนี้จะมีผลบังคับใช้เมื่อประเทศสมาชิกทั้งหมดได้มีการส่งมอบสัตยาบันสารหรือหนังสือแสดงการยอมรับไปยังเลขาธิการอาเซียน |
สถานะการมีผลบังคับใช้ | ความตกลงนี้ได้ถูกยกเลิกและแทนที่ด้วย ASEAN Agreement on Customs ลงนามเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 |
สาระสำคัญ | ความตกลงอาเซียนด้านศุลกากร เป็นผลจากการประชุมอธิบดีกรมศุลกากรอาเซียนเมื่อวันที่ 4-5 กันยายน พ.ศ. 2539 ที่ประเทศอินโดนีเซีย โดยความตกลงดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ให้มีการร่วมมือด้านศุลกากรในอาเซียนมากขึ้น เช่น การปรับประสานระบบการประเมินราคาศุลกากร (Customs Valuation Systems), รายชื่อสินค้าตามพิกัดอัตราศุลกากร (Tariff Nomenclature) แบบฟอร์มศุลกากร (Common Customs Form) และ ขั้นตอนศุลกากรต่างๆ (Customs Procedures) โดยยึดหลักของระบบที่มีความมั่นคง และความเรียบง่าย มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสนับสนุนให้กรมศุลกากรของแต่ละประเทศสมาชิกช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการดำเนินงาน |
กฏหมายที่เกี่ยวข้อง |
ข้อมูลประชาคมอาเซียน
● ประวัติอาเซียน
● วิสัยทัศน์อาเซียน
● กฎบัตรอาเซียน
● สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
● ประธานอาเซียน
● เลขาธิการอาเซียน
รัฐสภาไทยกับอาเซียน
● การเยือนประเทศสมาชิก
● การรับรองบุคคลสำคัญ
● สมัชชารัฐสภาอาเซียน AIPA
● กลุ่มมิตรภาพ
● พลเมืองอาเซียน
● อินไซต์อาเซียนและรอบโลก
○ อินไซต์อาเซียนการวิจัยและพัฒนากฎหมาย
● งานวิจัยและพัฒนากฏหมาย
● งานวิชาการ
○ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง● เอกสารวิชาการอื่นๆ
กฎหมายเปรียบเทียบ
● รัฐธรรมนูญของประเทศสมาชิกอาเซียน
● การเสริมสร้างความร่วมมือในภูมิภาคในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
● ความร่วมมือในภูมิภาคในเรื่องการต่อต้านอาชญากรรมทางไซเบอร์
● ความร่วมมือทางอาญาในภูมิภาคอาเซียนในเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
● พันธกรณีตาม ASEAN Economic Economy Blueprint 2025
● การศึกษาเปรียบเทียบกลไกระงับข้อพิพาทการลงทุนหรือกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ
● การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
● กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันที่เป็นธรรมทางการค้า
● ทรัพย์สินทางปัญญา
● การยอมรับและการบังคับคดีตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ
● การอำนวยความสะดวกทางการค้า
● พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ของอาเซียน
● มาตรฐานแรงงานในอาเซียน
● กฎหมายตามพันธกรณีความร่วมมือของประชาคมอาเซียนด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
● การยอมรับและการบังคับคดีให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศในคดีแพ่งหรือพาณิชย์
● การรับรองความถูกต้องแท้จริงของเอกสารราชการ