ประเภท | พระราชบัญญัติ.พระราชบัญญัติ |
---|---|
ชื่อ | ร่างพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... |
ผู้เสนอ | คณะรัฐมนตรี |
สาระสำคัญ | ปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการกำกับดูแลธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ แก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับอายุ ประเภทและการต่ออายุใบอนุญาตประกอบธุรกิจนำเที่ยว แก้ไขหลักเกณฑ์การวางหลักประกันรายละเอียดที่ต้องมีในเอกสารการโฆษณาชี้ชวนเกี่ยวกับรายการนำเที่ยว ความรับผิดชอบในกรณีที่ไม่จัดให้มีการประกันภัยสำหรับอุบัติเหตุ แก้ไขคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตและหลักเกณฑ์การต่อใบอนุญาตเป็นมัคคุเทศก์ กำหนดให้ทายาทของผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวสามารถประกอบธุรกิจนำเที่ยวต่อไปได้ และปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียม ตลอดจนแก้ไขชื่อหน่วยงานและตำแหน่งผู้บริหารเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อสำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยวเป็นกรมการท่องเที่ยว พ.ศ. 2553 |
สถานะปัจจุบัน | ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว |
เอกสารการประกอบการพิจารณา | 1. พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 |
ข้อมูลประชาคมอาเซียน
● ประวัติอาเซียน
● วิสัยทัศน์อาเซียน
● กฎบัตรอาเซียน
● สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
● ประธานอาเซียน
● เลขาธิการอาเซียน
รัฐสภาไทยกับอาเซียน
● การเยือนประเทศสมาชิก
● การรับรองบุคคลสำคัญ
● สมัชชารัฐสภาอาเซียน AIPA
● กลุ่มมิตรภาพ
● พลเมืองอาเซียน
● อินไซต์อาเซียนและรอบโลก
○ อินไซต์อาเซียนการวิจัยและพัฒนากฎหมาย
● งานวิจัยและพัฒนากฏหมาย
● งานวิชาการ
○ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง● เอกสารวิชาการอื่นๆ
กฎหมายเปรียบเทียบ
● รัฐธรรมนูญของประเทศสมาชิกอาเซียน
● การเสริมสร้างความร่วมมือในภูมิภาคในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
● ความร่วมมือในภูมิภาคในเรื่องการต่อต้านอาชญากรรมทางไซเบอร์
● ความร่วมมือทางอาญาในภูมิภาคอาเซียนในเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
● พันธกรณีตาม ASEAN Economic Economy Blueprint 2025
● การศึกษาเปรียบเทียบกลไกระงับข้อพิพาทการลงทุนหรือกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ
● การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
● กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันที่เป็นธรรมทางการค้า
● ทรัพย์สินทางปัญญา
● การยอมรับและการบังคับคดีตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ
● การอำนวยความสะดวกทางการค้า
● พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ของอาเซียน
● มาตรฐานแรงงานในอาเซียน
● กฎหมายตามพันธกรณีความร่วมมือของประชาคมอาเซียนด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
● การยอมรับและการบังคับคดีให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศในคดีแพ่งหรือพาณิชย์
● การรับรองความถูกต้องแท้จริงของเอกสารราชการ