คณะ กมธ.วิสามัญพิจารณาศึกษากฎหมายและมาตรการควบคุมกำกับบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทย แถลงผลการพิจารณารายงานของ คณะ กมธ.ที่พิจารณาแล้วเสร็จ เตรียมนำเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร

Image
Image
Image
วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2567 เวลา 16.00 นาฬิกา ณ ห้องแถลงข่าว ชั้น 1 อาคารรัฐสภา นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล ประธานคณะ กมธ.วิสามัญพิจารณาศึกษากฎหมายและมาตรการควบคุมกำกับบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทย และคณะ  แถลงผลการพิจารณารายงานของคณะ กมธ. ที่พิจารณาแล้วเสร็จ พร้อมนำส่งรายงานดังกล่าว สู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรโดยเร็ว ซึ่งคณะ กมธ. ได้เริ่มการดำเนินงานพิจารณา ตั้งแต่วันที่ 27 ก.ย. 66 พิจารณาแล้วเสร็จ ในวันนี้ (26 ธ. ค. 67) ใช้เวลาในการพิจารณามาก เนื่องจากมีข้อมูลพิจารณาจำนวนมาก โดยได้ตั้ง คณะ อนุกมธ. หลายคณะ เพื่อพิจารณารายละเอียดให้ครอบคลุม  จึงได้ศึกษาแนวทางการพัฒนา ปรับปรุง รวมทั้งยกระดับกฎหมายที่จะนำมาใช้ในการควบคุมกำกับการใช้บุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทย  จำนวน3 แนวทาง คือ 1. บุหรี่ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ยาสูบแบบให้ความร้อน (Heated Tobacco products) ทุกประเภท เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย โดยแบ่งออกเป็นสองทางเลือก ดังนี้ ทางเลือกที่หนึ่ง การแก้ไขกฎหมายที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยแก้ไขพระราชบัญญัติศุลกากร  พ.ศ. 2560  เพื่อให้บุหรี่ไฟฟ้าเป็นของต้องห้ามนำเข้ามาในราชอาณาจักร โดยกำหนดให้ผู้ครอบครองบุหรี่ไฟฟ้า มีความผิดตามกฎหมายศุลกากร และแก้ไขประกาศกระทรวงพาณิชย์  และเรื่องการกำหนดให้บารากู่ และบารากู่ไฟฟ้า บุหรี่ไฟฟ้าเป็นสินค้าที่ต้องห้ามนำเข้าในราชอาณาจักร พ.ศ. 2557 เพื่อให้เกิดความชัดเจนในคำนิยามของบุหรี่ไฟฟ้าตามพิกัดศุลกากร ทางลือกที่สอง การตรากฎหมายในระดับ พ.ร.บ.ขึ้นใหม่ เพื่อกำหนดให้บุหรี่ไฟฟ้าเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายแบบเบ็ดเสร็จ โดยรวบรวมมาตรการควบคุมบุหรี่ไฟฟ้าทั้งการห้ามการผลิต การนำเข้า การจำหน่าย การโฆษณา การสื่อสารการตลาด การโฆษณาชวนเชื่อ การครอบครอง และการสูบหรือ การใช้บุหรี่ไฟฟ้า 2. ผลิตภัณฑ์ยาสูบแบบให้ควานร้อน (Heated Tobacco Product) เป็นสิ่งที่ถูกควบคุมตามกฎหมาย โดยแก้ไข พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2560  ประกาศกระทรวงพาณิชย์  เรื่องกำหนดให้บารากู่และบารากู่ไฟฟ้า หรือบุหรี่ไฟฟ้า เป็นสินค้าที่ต้องห้ามในการนำเข้าในราชอาณาจักร พ.ศ. 2557 3. บุหรี่ไฟฟ้าและผลิตภัณฑ์ยาสูบแบบให้ความร้อนเป็นสิ่งที่ถูกควบคุมตามกฎหมายโดยการแก้ประกาศกระทรวงพาณิชย์เรื่องกำหนดให้บารากู่และบารากู่ไฟฟ้าหรือบุหรี่ไฟฟ้าเป็นสินค้าที่ต้องห้ามในการนำเข้าและอาณาจักรพ.ศ 2557 โดยกำหนดให้เฉพาะบารากู่เป็นสินค้าที่ต้องห้ามในการนำเข้าในราชอาณาจักรและแก้ไขคำสั่งคณะกรรมการว่าด้วยความปลอดภัยของสินค้าและบริการที่ 24/2567 เรื่องห้ามผลิตเพื่อขาย ห้ามขายหรือให้บริการสินค้าบารากู่ไฟฟ้าหรือบุหรี่ไฟฟ้า น้ำยาสำหรับเติมบารากู่ไฟฟ้าหรือบุหรี่ไฟฟ้า โดยการห้ามผลิตเพื่อจำหน่ายจำหน่ายหรือให้บริการผลิตภัณฑ์บุหรี่ไฟฟ้าและน้ำยาสำหรับเติมบุหรี่ไฟฟ้า โดยเฉพาะสินค้ามาในกลุ่มเพื่อให้บุหรี่ไฟฟ้าเป็นสินค้าที่สามารถนำเข้า ผลิตและจำหน่ายได้ รวมทั้งดำเนินการออกกฎกระทรวงกำหนดให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบแบบให้ความร้อนเป็นยาสูบตาม พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 และนำมาตรการทางกฎหมายตาม พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.  2560 มาใช้ในการควบคุมการนำเข้าการโฆษณา การสื่อสารการตลาดและการสูบ รวมทั้งกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมาใช้ควบคุมมาตรฐานเครื่องและอุปกรณ์บุหรี่ไฟฟ้าและสารที่ไม่มีส่วนประกอบของนิโคตินที่นำมาใช้ในการสูบบุหรี่ไฟฟ้า สำหรับรายงานของ คณะ กมธ. ต่อสภาฯ นั้น จะไม่มีการลงมติต่อรายงานดังกล่าว  เพียงแต่มีการลงมติในข้อสังเกตของคณะ กมธ. ที่ต้องส่งให้คณะรัฐมนตรี เพื่อดำเนินการต่อไปเท่านั้น




รัฐสภา● เกี่ยวกับรัฐสภา■ หน้าที่และอำนาจรัฐสภา■ โครงสร้างรัฐสภา■ ประธานรัฐสภา■ รองประธานรัฐสภา■ ทำเนียบประธานรัฐสภา■ คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.)● การประชุมร่วมกันของรัฐสภา■ ระเบียบวาระการประชุม○ ระเบียบวาระการประชุม
○ ระเบียบวาระการประชุม (Flip e-Book)
■ บันทึกการประชุม■ บันทึกการออกเสียงลงคะแนน■ รายงานการประชุม○ รายงานการประชุม
○ รายงานการประชุม (Flip e-Book)
■ สรุปผลงานการประชุม■ ข้อมูลการประชุมสภา (โมบายแอพฯ)○ ข้อมูลการประชุมสภา (iOS)
○ ข้อมูลการประชุมสภา (Android)
○ คู่มือการใช้งาน
■ ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา● คณะกรรมาธิการ■ คณะกรรมาธิการของรัฐสภา■ คณะกรรมาธิการร่วมกัน■ คณะกรรมาธิการในอดีต (สภาผู้แทนฯ ชุดที่ 25)■ รายงานของคณะกรรมาธิการ● เครือข่ายในวงงานรัฐสภา■ เครือข่ายรัฐสภาทั่วโลก■ เครือข่ายนิติบัญญัติ○ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
○ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
○ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
○ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
■ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ○ คณะกรรมการการเลือกตั้ง
○ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
○ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
○ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
○ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
■ องค์กรอื่นๆ○ ศาลยุติธรรม
○ ศาลปกครอง
○ ศาลรัฐธรรมนูญ
○ สำนักงานอัยการสูงสุด
● บริการรัฐสภา
สภาผู้แทนราษฎร● เกี่ยวกับสภาผู้แทนราษฎร■ หน้าที่และอำนาจสภาผู้แทนราษฎร■ โครงสร้างสภาผู้แทนราษฎร■ ประธาน/รองประธาน สภาผู้แทนราษฎร○ ประธานสภาผู้แทนราษฎร
○ ทำเนียบประธานสภาผู้แทนราษฎร
■ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร○ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
○ ทำเนียบผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
■ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร○ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
○ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โมบาย แอพฯ)
● การประชุมสภาผู้แทนราษฎร■ ระเบียบวาระการประชุม○ ระเบียบวาระการประชุม
■ แบบการแจ้งความจำนงขอปรึกษาหารือฯ■ กระทู้ถาม○ ระเบียบวาระกระทู้ถามสดด้วยวาจา
○ ระบบตั้งกระทู้ถามสดด้วยวาจา
○ แบบฟอร์มตั้งกระทู้ถาม
○ แบบฟอร์มถอนกระทู้ถาม
○ กระทู้ถามที่ตอบในราชกิจจานุเบกษา
■ บันทึกการประชุม■ บันทึกการออกเสียงลงคะแนน■ รายงานการประชุม○ รายงานการประชุม
○ รายงานการประชุม (Flip e-Book)
■ สรุปผลงานการประชุม■ ข้อมูลการประชุมสภา (โมบายแอพฯ)○ ข้อมูลการประชุมสภา (iOS)
○ ข้อมูลการประชุมสภา (Android)
○ คู่มือการใช้งาน
■ ข้อมูลการประชุมในอดีต■ ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร● คณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร■ คณะกรรมาธิการสามัญ■ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาญัตติ■ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ■ คณะกรรมาธิการในอดีต (สภาผู้แทนฯ ชุดที่ 25)■ รายงานของคณะกรรมาธิการ● บริการสภาผู้แทนราษฎรวุฒิสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร● เกี่ยวกับสำนักงานฯ■ ประวัติความเป็นมา■ โครงสร้างสำนักงานฯ■ หน้าที่และอำนาจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์■ ผู้บริหารสำนักงานฯ■ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง■ ทำเนียบเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร■ แผนปฏิบัติราชการ● ประกาศ■ จัดซื้อจัดจ้าง ■ รับสมัครงาน■ เงินอุดหนุนการวิจัย● คุณธรรมความโปร่งใส■ แผนปฏิบัติราชการ■ แผนดำเนินงาน■ มาตรฐานการปฏิบัติงาน■ การให้บริการ■ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี■ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล■ การส่งเสริมความโปร่งใสและการป้องกันการทุจริต● ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ● บริการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาบริการทั้งหมด ■ ข้อมูลการประชุมสภา■ ข้อมูลกฎหมาย■ ข้อมูลต่างๆ ของรัฐสภา■ แจ้งเรื่องร้องเรียน■ ข้อมูลจากหน่วยงานภายนอก■ สำหรับบุคคลในวงงานรัฐสภา● Health_madia