ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ร่วมวางพวงมาลาและกล่าวรำลึกเนื่องใน “งานรำลึก 14 ตุลาประจำปี 2567”

วันจันทร์ที่ 14 ตุลาคม 2567 เวลา 10.00 นาฬิกา ณ อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา ถนนราชดำเนินกลาง เขตพระนคร กรุงเทพฯ นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เข้าร่วมวางพวงมาลาเนื่องใน “งานรำลึก 14 ตุลา ประจำปี 2567” เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การแสดงออกทางการเมือง และพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และแขกผู้มีเกียรติ เข้าร่วม 
 
จากนั้น นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ กล่าวรำลึก 14 ตุลา ประจำปี 2567 ใจความว่า พี่น้องประชาชนเหล่าวีรชนและแขกผู้มีเกียรติที่มาร่วมงานรำลึกในวันที่ 14 ตุลาคม 2567 ที่เราร่วมรำลึกถึงเหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 เหตุการณ์ในวันนี้ผมเชื่อว่าเราไม่ได้มาเพียงแต่การทำการรำลึกถึงความสูญเสียการเสียสละเสียเลือดเสียเนื้อการต่อสู้ของเหล่าวีรชนในอดีตอย่างเดียวเท่านั้น ผมคิดว่าสิ่งที่สำคัญไม่แพ้กันก็คือการรำลึกถึงวัตถุประสงค์ความเป็นมาหรือข้อต่อสู้เรียกร้องของเหล่าวีรชนในอดีตว่าเขาต้องลงท้องถนนมาต่อสู้ในสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เพราะอะไร ผมในวันนี้ในวัยอายุ 37 ปี ถ้าจะให้ผมกล่าวรำลึกถึงเหตุการณ์ในอดีตที่ผมเกิดไม่ทันคงจะบอกได้ว่าผมไม่เดียงสาทางการเมืองเพราะผมเองคงไม่สามารถที่จะรำลึกถึงความคับแค้นใจหรือความรู้สึกของพี่น้องที่หลาย ๆ ท่านในวันนี้ ผมเชื่อว่าก็อยู่ในเหตุการณ์ในวันนั้นต่อสู้เรียกร้องกันมาผมคงไม่สามารถพูดได้ดีเท่ากับทุกท่านได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผมเชื่อว่าคนทุกรุ่นทุกยุคทุกสมัยวันนี้ที่ผมมองไปก็มีแต่เหล่าเยาวชนที่ทั้งเด็กกว่าหรือว่าอยู่ในยุคคราวเดียวกับผมที่ร่วมต่อสู้เรียกร้องในกระบวนการประชาธิปไตยในยุคนี้สมัยนี้เช่นเดียวกันผมเชื่อว่าสิ่งที่ผมมีร่วมกับทุก ๆ ท่านที่ร่วมกันต่อสู้มาในอดีตก็คือ เจตจำนงทางการเมืองที่ต้องการพัฒนากระบวนการประชาธิปไตยในประเทศในการผลักดันสังคมไทยไปข้างหน้าซึ่งเป็นสิ่งเรียบง่ายมาก ที่อยากจะได้ประเทศไทยที่มีการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนการชุมนุมต่อสู้เรียกร้องทางการเมือง เพื่อวิพากษ์วิจารณ์เหล่าผู้มีอำนาจทางการเมืองโดยสุจริตย่อมต้องถูกคุ้มครองตามกฎหมาย ที่เราอยากจะมีรัฐบาลที่ให้สิทธิสวัสดิการรวมถึงการให้บริการสาธารณะขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน เช่น ประเทศโลกที่ 1 ที่อยากจะมีประเทศที่ปลอดจากการทุจริตคอร์รัปชัน ตั้งแต่ปี 2500 เป็นต้นมา 1 ทศวรรษที่ประเทศไทยต่อสู้เรียกร้องจนกว่าจะได้รัฐธรรมนูญ 2511 เรามีการเลือกตั้งในปี 2512 ทำให้เกิดกระบวนการต่าง ๆ มากมายที่ประชาธิปไตย เริ่มงอกงามขึ้นมาบางส่วนไม่ว่าจะเป็นศูนย์กลางนิสิต นักศึกษาแห่งประเทศไทย ขบวนการต่อสู้เรียกร้องทางฝั่งแรงงานรวมถึงพรรคการเมืองฝ่ายค้านที่มีหัวก้าวหน้าแต่แล้วประวัติศาสตร์ก็ได้สอนว่า ประชาธิปไตยทางการเมืองถูกหมุนทวนกลับไปเนื่องด้วยการปฏิวัติยึดอำนาจตัวเองฉีกรัฐธรรมนูญอีกครั้งถึงแม้ตัวผมเองจะไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์วันนั้น  ผมอยากจะถามทุก ๆ ท่านในวันนี้ที่ทั้งมีส่วนโดยตรงหรือโดยอ้อมในเหตุการณ์วันที่ 14 ตุลาคม การต่อสู้เรียกร้องเพื่อสิ่งที่ได้กล่าวไปแล้วอยากจะได้ประเทศไทยที่ทุกท่านใฝ่หา จึงขอให้ทุกท่านจินตนาการ 51 ปีที่แล้ว ที่ท่านลงถนนท่านจินตนาการประเทศไทยในอีก 51 ปีข้างหน้า จนถึงประเทศไทยในวันนี้ท่านคิดว่าประเทศไทยในวันนี้เป็นอย่างที่ทุกท่านใฝ่หาแล้วหรือยัง ถึงแม้ผมจะไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์วันนั้นแต่เชื่อว่าหากมองย้อนกลับไปเรายังไปไม่ถึงจุดนั้น กระบวนการประชาธิปไตยหลาย ๆ อย่างในประเทศไม่ว่าจะเป็นกฎกติกาสูงสุด เช่น รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่วันนี้พวกเราก็ต่อสู้เรียกร้องกันอยู่ยังมีบางอย่างที่ประสบปัญหาอุปสรรคการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนคนที่เคยออกมาต่อสู้เรียกร้องคดีทางการเมืองยังไม่ได้รับความเป็นธรรมหรืออีกหลาย ๆ ภาคส่วน
 




รัฐสภา● เกี่ยวกับรัฐสภา■ หน้าที่และอำนาจรัฐสภา■ โครงสร้างรัฐสภา■ ประธานรัฐสภา■ รองประธานรัฐสภา■ ทำเนียบประธานรัฐสภา■ คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.)● การประชุมร่วมกันของรัฐสภา■ ระเบียบวาระการประชุม○ ระเบียบวาระการประชุม
○ ระเบียบวาระการประชุม (Flip e-Book)
■ บันทึกการประชุม■ บันทึกการออกเสียงลงคะแนน■ รายงานการประชุม○ รายงานการประชุม
○ รายงานการประชุม (Flip e-Book)
■ สรุปผลงานการประชุม■ ข้อมูลการประชุมสภา (โมบายแอพฯ)○ ข้อมูลการประชุมสภา (iOS)
○ ข้อมูลการประชุมสภา (Android)
○ คู่มือการใช้งาน
■ ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา● คณะกรรมาธิการ■ คณะกรรมาธิการของรัฐสภา■ คณะกรรมาธิการร่วมกัน■ คณะกรรมาธิการในอดีต (สภาผู้แทนฯ ชุดที่ 25)■ รายงานของคณะกรรมาธิการ● เครือข่ายในวงงานรัฐสภา■ เครือข่ายรัฐสภาทั่วโลก■ เครือข่ายนิติบัญญัติ○ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
○ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
○ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
○ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
■ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ○ คณะกรรมการการเลือกตั้ง
○ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
○ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
○ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
○ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
■ องค์กรอื่นๆ○ ศาลยุติธรรม
○ ศาลปกครอง
○ ศาลรัฐธรรมนูญ
○ สำนักงานอัยการสูงสุด
● บริการรัฐสภา
สภาผู้แทนราษฎร● เกี่ยวกับสภาผู้แทนราษฎร■ หน้าที่และอำนาจสภาผู้แทนราษฎร■ โครงสร้างสภาผู้แทนราษฎร■ ประธาน/รองประธาน สภาผู้แทนราษฎร○ ประธานสภาผู้แทนราษฎร
○ ทำเนียบประธานสภาผู้แทนราษฎร
■ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร○ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
○ ทำเนียบผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
■ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร○ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
○ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โมบาย แอพฯ)
● การประชุมสภาผู้แทนราษฎร■ ระเบียบวาระการประชุม○ ระเบียบวาระการประชุม
○ ระเบียบวาระการประชุม (Flip e-Book)
■ แบบการแจ้งความจำนงขอปรึกษาหารือฯ■ กระทู้ถาม○ ระเบียบวาระกระทู้ถามสดด้วยวาจา
○ ระบบตั้งกระทู้ถามสดด้วยวาจา
○ แบบฟอร์มตั้งกระทู้ถาม
○ แบบฟอร์มถอนกระทู้ถาม
○ กระทู้ถามที่ตอบในราชกิจจานุเบกษา
■ บันทึกการประชุม■ บันทึกการออกเสียงลงคะแนน■ รายงานการประชุม○ รายงานการประชุม
○ รายงานการประชุม (Flip e-Book)
■ สรุปผลงานการประชุม■ ข้อมูลการประชุมสภา (โมบายแอพฯ)○ ข้อมูลการประชุมสภา (iOS)
○ ข้อมูลการประชุมสภา (Android)
○ คู่มือการใช้งาน
■ ข้อมูลการประชุมในอดีต■ ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร● คณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร■ คณะกรรมาธิการสามัญ■ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาญัตติ■ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ■ คณะกรรมาธิการในอดีต (สภาผู้แทนฯ ชุดที่ 25)■ รายงานของคณะกรรมาธิการ● บริการสภาผู้แทนราษฎรวุฒิสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร● เกี่ยวกับสำนักงานฯ■ ประวัติความเป็นมา■ โครงสร้างสำนักงานฯ■ หน้าที่และอำนาจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์■ ผู้บริหารสำนักงานฯ■ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง■ ทำเนียบเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร■ แผนปฏิบัติราชการ● ประกาศ■ จัดซื้อจัดจ้าง ■ รับสมัครงาน■ เงินอุดหนุนการวิจัย● คุณธรรมความโปร่งใส■ แผนปฏิบัติราชการ■ แผนดำเนินงาน■ มาตรฐานการปฏิบัติงาน■ การให้บริการ■ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี■ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล■ การส่งเสริมความโปร่งใสและการป้องกันการทุจริต● ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ● บริการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาบริการทั้งหมด ■ ข้อมูลการประชุมสภา■ ข้อมูลกฎหมาย■ ข้อมูลต่างๆ ของรัฐสภา■ แจ้งเรื่องร้องเรียน■ ข้อมูลจากหน่วยงานภายนอก■ สำหรับบุคคลในวงงานรัฐสภา● Health_madia