• สำหรับผู้พิการ
  • รูปแบบสี ก ก ก
  • ขนาดตัวอักษร -ก ก +ก
  • Language
    • ภาษาไทย
    • English
    • Français
    Facebook youtube

เว็บไซต์อื่นๆ
  • รัฐสภา
  • สภาผู้แทนราษฎร
  • วุฒิสภา
  • สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  • สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

logo
  • หน้าหลัก
  • แนะนำองค์กร
  • ข้อมูลประชาคมอาเซียน
    • ประวัติอาเซียน
    • วิสัยทัศน์อาเซียน
    • กฎบัตรอาเซียน
    • สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
    • ประธานอาเซียน
    • เลขาธิการอาเซียน
  • รัฐสภาไทยกับอาเซียน
    • การเยือนประเทศสมาชิก
    • การรับรองบุคคลสำคัญ
    • สมัชชารัฐสภาอาเซียน AIPA
    • กลุ่มมิตรภาพ
    • พลเมืองอาเซียน
    • อินไซต์อาเซียนและรอบโลก
      • อินไซต์อาเซียน
      • รอบโลก
  • การวิจัยและพัฒนากฎหมาย
    • งานวิจัยและพัฒนากฏหมาย
    • งานวิชาการ
      • ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
      • ประชาคมเศรษฐกิจ
      • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
    • เอกสารวิชาการอื่นๆ
  • FAQ
  • ติดต่อเรา
เว็บไซต์อื่นๆ
  • รัฐสภา
  • สภาผู้แทนราษฎร
  • วุฒิสภา
  • สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  • สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
ตราสารอาเซียนและ
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน
Loading...
เลขที่ 30
หมวดหมู่ เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน@
ประเภท กรอบความตกลง
ชื่อภาษาไทย กรอบความตกลงของอาเซียนว่าด้วยการบริการ
ชื่อภาษาอังกฤษ ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS)
สถานที่ลงนาม กรุงเทพฯ ประเทศไทย
วันที่ลงนาม / วันที่ได้รับการลงมติยอมรับ 15 ธันวาคม 2538
สถานะการให้สัตยาบัน ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2540
การเริ่มมีผลบังคับใช้ ข้อ 14 กรอบความตกลงนี้จะมีผลบังคับใช้เมื่อประเทศภาคีทั้งหมดได้ส่งมอบสัตยาบันสารหรือหนังสือแสดงการยอมรับไปยังเลขาธิการอาเซียน
สถานะการมีผลบังคับใช้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2541
สาระสำคัญ กรอบความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียน (AFAS) มีวัตถุประสงค์คือการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ให้บริการ เพิ่มความสามารถในการผลิตและกระจายการบริการไปยังผู้บริโภคทั้งภายในและภายนอกอาเซียน รวมทั้งเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าในภาคบริการระหว่างประเทศสมาชิก โดยข้อตกลงดังกล่าวได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานสำหรับประเทศสมาชิกในการเปิดตลาดธุรกิจบริการให้แก่กัน และการเพิ่มความเท่าเทียมกันของผู้ให้บริการ (Equal National Treatment) ทั้งนี้ ระเบียบข้อบังคับทั้งหมดของ AFAS จะมีความสอดคล้องกับระเบียบข้อบังคับของความตกลง General Agreement on Trade in Services (GATS) ขององค์การการค้าโลก (WTO) ภายใต้กรอบของ AFAS อาเซียนได้มีการเจรจาต่อรองการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิกมาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2539 เป็นจำนวน 6 รอบ ส่งผลให้เกิดการลงนามในข้อผูกพันเปิดตลาดการค้าบริการทั้งหมด 8 ชุด ข้อผูกพันฯ เหล่านี้ครอบคลุมการเปิดตลาดเสรีการบริการหลายประเภท ได้แก่ สาขาบริการธุรกิจ บริการด้านวิชาชีพ การเงิน การก่อสร้าง การจัดจำหน่าย การศึกษา บริการด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การโทรคมนาคม และการท่องเที่ยว สาระสำคัญของข้อผูกพันเปิดตลาดการค้าบริการ ชุดที่ 8 ซึ่งเป็นชุดล่าสุด มีความแตกต่างจากข้อผูกพันฯ ชุดก่อน นั่อคือ การมีระดับการเปิดเสรีเพิ่มขึ้น โดยประเทศสมาชิกจะต้องอนุญาตให้นักลงทุนหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเซียน สามารถเข้ามามีสัดส่วนการถือหุ้นในธุรกิจบริการในประเทศได้ร้อยละ 70 ในสาขาเร่งรัด ได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สุขภาพ ท่องเที่ยว และการขนส่งทางอากาศ รวมถึงสาขาโลจิสติกส์ และไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 หรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งในสาขาบริการอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก 4 สาขาข้างต้น พร้อมกับจะต้องยกเลิกข้อจำกัดการเข้าสู่ตลาดอื่นๆ ทั้งหมดอีกด้วย อ้างอิง: • Tourism Knowledge Management Centre, กรมการท่องเที่ยว
กฏหมายที่เกี่ยวข้อง 1. เอกสารประกอบการพิจารณา
2. สรุปสาระสำคัญ



ASEAN Thailand 2019
สมัชชารัฐสภาอาเซียน
The ASEAN Secretariat
Inter-Parliamentary Union
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
ASEAN Thailand 2019
สมัชชารัฐสภาอาเซียน
The ASEAN Secretariat
Inter-Parliamentary Union
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน

กลุ่มงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรปฏิบัติหน้าที่สำนักงานศูนย์ประชาคมอาเซียนของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

โทร 022425900 ต่อ 7462

facebook   youtube

จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ 1,297,503
(ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565)

Tawdis WCAG 2.0 (Level AA)

คลิกดูสถิติการเข้าชมเว็บไซต์สภาผู้แทนฯ
sitemap แผนผังเว็บไซต์

หน้าหลัก

แนะนำองค์กร

ข้อมูลประชาคมอาเซียน

● ประวัติอาเซียน

● วิสัยทัศน์อาเซียน

● กฎบัตรอาเซียน

● สำนักงานเลขาธิการอาเซียน

● ประธานอาเซียน

● เลขาธิการอาเซียน

รัฐสภาไทยกับอาเซียน

● การเยือนประเทศสมาชิก

● การรับรองบุคคลสำคัญ

● สมัชชารัฐสภาอาเซียน AIPA

● กลุ่มมิตรภาพ

● พลเมืองอาเซียน

● อินไซต์อาเซียนและรอบโลก

○ อินไซต์อาเซียน
○ รอบโลก

การวิจัยและพัฒนากฎหมาย

● งานวิจัยและพัฒนากฏหมาย

● งานวิชาการ

○ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
○ ประชาคมเศรษฐกิจ
○ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

● เอกสารวิชาการอื่นๆ

FAQ

ติดต่อเรา

ภาพข่าวกิจกรรม

ข่าวสารอาเซียน

งานวิจัยและพัฒนากฎหมาย

กฎหมายเปรียบเทียบ

● รัฐธรรมนูญของประเทศสมาชิกอาเซียน

● การเสริมสร้างความร่วมมือในภูมิภาคในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ

● ความร่วมมือในภูมิภาคในเรื่องการต่อต้านอาชญากรรมทางไซเบอร์

● ความร่วมมือทางอาญาในภูมิภาคอาเซียนในเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดน

● พันธกรณีตาม ASEAN Economic Economy Blueprint 2025

● การศึกษาเปรียบเทียบกลไกระงับข้อพิพาทการลงทุนหรือกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ

● การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว

● กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันที่เป็นธรรมทางการค้า

● ทรัพย์สินทางปัญญา

● การยอมรับและการบังคับคดีตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ

● การอำนวยความสะดวกทางการค้า

● พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ของอาเซียน

● มาตรฐานแรงงานในอาเซียน

● กฎหมายตามพันธกรณีความร่วมมือของประชาคมอาเซียนด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

● การยอมรับและการบังคับคดีให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศในคดีแพ่งหรือพาณิชย์

● การรับรองความถูกต้องแท้จริงของเอกสารราชการ