• สำหรับผู้พิการ
  • รูปแบบสี ก ก ก
  • ขนาดตัวอักษร -ก ก +ก
  • Language
    • ภาษาไทย
    • English
    • Français
    Facebook youtube

เว็บไซต์อื่นๆ
  • รัฐสภา
  • สภาผู้แทนราษฎร
  • วุฒิสภา
  • สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  • สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

logo
  • หน้าหลัก
  • แนะนำองค์กร
  • ข้อมูลประชาคมอาเซียน
    • ประวัติอาเซียน
    • วิสัยทัศน์อาเซียน
    • กฎบัตรอาเซียน
    • สำนักงานเลขาธิการอาเซียน
    • ประธานอาเซียน
    • เลขาธิการอาเซียน
  • รัฐสภาไทยกับอาเซียน
    • การเยือนประเทศสมาชิก
    • การรับรองบุคคลสำคัญ
    • สมัชชารัฐสภาอาเซียน AIPA
    • กลุ่มมิตรภาพ
    • พลเมืองอาเซียน
    • อินไซต์อาเซียนและรอบโลก
      • อินไซต์อาเซียน
      • รอบโลก
  • การวิจัยและพัฒนากฎหมาย
    • งานวิจัยและพัฒนากฏหมาย
    • งานวิชาการ
      • ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
      • ประชาคมเศรษฐกิจ
      • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
    • เอกสารวิชาการอื่นๆ
  • FAQ
  • ติดต่อเรา
เว็บไซต์อื่นๆ
  • รัฐสภา
  • สภาผู้แทนราษฎร
  • วุฒิสภา
  • สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  • สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
กระทู้ถามเกี่ยวกับ
ตราสารอาเซียนของรัฐสภา
Loading...

ปัญหาการเตรียมความพร้อมของแรงงานไทยก่อนเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

กระทู้ถามที่ 1054/2556 สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24/2554
วันที่เสนอ 22 สิงหาคม 2561
สมัยคณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ชื่อผู้ตั้งกระทู้ถาม นางชมภู จันทาทอง พรรคเพื่อไทย จังหวัดหนองคาย
ชื่อผู้ถูกตั้งกระทู้ถาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง)
ชื่อผู้ตอบกระทู้ถาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง)
ประเภทกระทู้ถาม กระทู้ถามที่ตอบในราชกิจจานุเบกษา
สถานภาพกระทู้ถาม กระทู้ถามที่ตอบในที่ประชุม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 130

 

ตอนพิเศษ 102 ง หน้า 92 - 95 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2556

สรุปสาระสำคัญของกระทู้ถาม

           การเตรียมความพร้อมด้านแรงงานที่มีฝีมือ จำนวน 8 สาขาวิชาชีพ ของไทยประกอบด้วยด้านการแพทย์ (Medical Services) ทันตกรรม (Dental Services) พยาบาล (Nursing Services) วิศวกรรม (Engineering Services) สถาปัตยกรรม (Architectural Services) การสำรวจ (Surveying Services) การบัญชี (Accountancy Services) การโรงแรมและการท่องเที่ยว (Hotel and Tourism Services) ที่ยังขาดความรู้ ความสามารถในการแข่งขันระดับภูมิภาคอาเซียน ผู้ตั้งกระทู้ถามขอทราบว่า
           1. กระทรวงแรงงานมีนโยบายเพิ่มศักยภาพวิชาชีพสาขาใดที่มีความพร้อม วิชาชีพใดที่ต้องสงวนไว้สำหรับแรงงานในประเทศ
           2. กระทรวงแรงงานมีการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานวิชาชีพกลางขึ้นมาหรือไม่ และมีมาตรการป้องกันสมองไหลอย่างไร

สรุปสาระสำคัญของคำตอบกระทู้ถาม

           1. กฎหมายของไทยที่ว่าด้วยแรงงานมี 2 ฉบับ ประกอบด้วย พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ทั้งสองฉบับดังกล่าวไม่เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมคุ้มครองแรงงานไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กล่าวคือ กรณีที่แรงงานไทยมีความประสงค์จะเข้าไปทำงานในประเทศสมาชิกอาเซียนจะได้รับการคุ้มครองโดยพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 ส่วนแรงงานจากประเทศภาคีประชาคมอาเซียนที่มีความประสงค์จะเข้ามาทำงานในประเทศไทยนั้น เป็นไปตามพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นการควบคุมการทำงานของคนต่างด้าว และป้องกันการแย่งอาชีพของคนไทย
           2. ผลจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนนำมาซึ่งการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในภูมิภาค แต่หลายประเทศยังไม่มีข้อตกลงร่วมกันที่ชัดเจนในเรื่องหลักเกณฑ์ที่จะใช้จำแนกแรงงานฝีมือ และแรงงานไร้ฝีมือ สำหรับประเทศไทยได้มี การจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นตัวชี้วัดความสามารถและประเมินทักษะฝีมือแรงงานระดับสากลแล้ว 148 สาขาอาชีพ ได้ทดลองนำร่องออกใบรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติเทียบเคียงกับประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น มาเลเซีย พัฒนาทักษะด้านภาษาให้กับแรงงานที่ต้องการไปหางานทำยังต่างประเทศ และจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อฝึกอบรมและพัฒนาฝีมือแรงงานครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะการแข่งขันด้านแรงงานของไทย

เอกสารต้นเรื่อง 1. ต้นฉบับกระทู้ถาม



ASEAN Thailand 2019
สมัชชารัฐสภาอาเซียน
The ASEAN Secretariat
Inter-Parliamentary Union
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
ASEAN Thailand 2019
สมัชชารัฐสภาอาเซียน
The ASEAN Secretariat
Inter-Parliamentary Union
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน

กลุ่มงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรปฏิบัติหน้าที่สำนักงานศูนย์ประชาคมอาเซียนของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

โทร 022425900 ต่อ 7462

facebook   youtube

จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ 1,287,327
(ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565)

Tawdis WCAG 2.0 (Level AA)

คลิกดูสถิติการเข้าชมเว็บไซต์สภาผู้แทนฯ
sitemap แผนผังเว็บไซต์

หน้าหลัก

แนะนำองค์กร

ข้อมูลประชาคมอาเซียน

● ประวัติอาเซียน

● วิสัยทัศน์อาเซียน

● กฎบัตรอาเซียน

● สำนักงานเลขาธิการอาเซียน

● ประธานอาเซียน

● เลขาธิการอาเซียน

รัฐสภาไทยกับอาเซียน

● การเยือนประเทศสมาชิก

● การรับรองบุคคลสำคัญ

● สมัชชารัฐสภาอาเซียน AIPA

● กลุ่มมิตรภาพ

● พลเมืองอาเซียน

● อินไซต์อาเซียนและรอบโลก

○ อินไซต์อาเซียน
○ รอบโลก

การวิจัยและพัฒนากฎหมาย

● งานวิจัยและพัฒนากฏหมาย

● งานวิชาการ

○ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
○ ประชาคมเศรษฐกิจ
○ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

● เอกสารวิชาการอื่นๆ

FAQ

ติดต่อเรา

ภาพข่าวกิจกรรม

ข่าวสารอาเซียน

งานวิจัยและพัฒนากฎหมาย

กฎหมายเปรียบเทียบ

● รัฐธรรมนูญของประเทศสมาชิกอาเซียน

● การเสริมสร้างความร่วมมือในภูมิภาคในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ

● ความร่วมมือในภูมิภาคในเรื่องการต่อต้านอาชญากรรมทางไซเบอร์

● ความร่วมมือทางอาญาในภูมิภาคอาเซียนในเรื่องการส่งผู้ร้ายข้ามแดน

● พันธกรณีตาม ASEAN Economic Economy Blueprint 2025

● การศึกษาเปรียบเทียบกลไกระงับข้อพิพาทการลงทุนหรือกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ

● การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว

● กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันที่เป็นธรรมทางการค้า

● ทรัพย์สินทางปัญญา

● การยอมรับและการบังคับคดีตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ

● การอำนวยความสะดวกทางการค้า

● พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ของอาเซียน

● มาตรฐานแรงงานในอาเซียน

● กฎหมายตามพันธกรณีความร่วมมือของประชาคมอาเซียนด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

● การยอมรับและการบังคับคดีให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศในคดีแพ่งหรือพาณิชย์

● การรับรองความถูกต้องแท้จริงของเอกสารราชการ