ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง “ผู้นำธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนประเทศ” ให้แก่ผู้เข้าอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลของผู้บริหารระดับกลาง รุ่นที่ 26

Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
Image
วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.30 นาฬิกา ณ ห้องประชุมสัมมนา B1-6 ชั้น B1 อาคารรัฐสภา นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง “ผู้นำธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนประเทศ” ให้แก่ผู้เข้าอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลของผู้บริหารระดับกลาง รุ่นที่ 26 จำนวน 89 คน โดยมี ดร.ถวิลวดี บุรีกุล รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กล่าวรายงาน
ในการนี้ นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ ประธานคณะ กมธ.ศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ คณะทำงานทางการเมืองของประธานสภาผู้แทนราษฎร เข้าร่วมรับฟัง

โอกาสนี้ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ได้บรรยายพิเศษเกี่ยวกับ ผู้นำธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนประเทศ โดยมีใจความตอนหนึ่งว่า หากผู้เข้าอบรมนำเอาเนื้อหาสาระของการเป็นผู้นำธรรมาภิบาลไปขับเคลื่อนองค์กร จะขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง นั่นหมายถึงว่าประเทศจะได้รับการประโยชน์จากหน่วยงานของทุกคนและต้องมีความพยายามมุ่งมั่น เรียนรู้ เพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมาย ผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้บริหารระดับกลาง เป็นโซ่ข้อกลางของหน่วยงานที่เชื่อมต่อระหว่างผู้บริหารระดับสูงและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ นับเป็นระดับสำคัญขององค์กรในการขับเคลื่อนงานขององค์กรและประเทศชาติทั้งปัจจุบันและอนาคต หลักธรรมาภิบาลไม่ได้แตกต่างไปจากหลักวิถีประชาธิปไตย แต่เป็นเรื่องเดียวกันเป็นเพียงการหยิบยกบางส่วนในหลักประชาธิปไตยมาปรับใช้กับองค์กรและบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ สร้างความสุขในการทำงานร่วมกัน ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต้องอาศัยผู้นำขององค์กรนั้น ๆ เป็นปัจจัยสำคัญสังคมใดเป็นสังคมประชาธิปไตย ย่อมถึงพร้อมที่จะนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ขับเคลื่อนองค์กรและประเทศชาติ

การเป็นภาวะผู้นำจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญ คือ
1. ต้องเป็นผู้ศรัทธา เชื่อมั่น และมีพฤติกรรมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย เป็นบุคคลที่มีสติปัญญา แสวงหาความรู้ มีเหตุมีผล เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ สุจริต รับผิดชอบ มีระเบียบวินัยในตนเอง ขยันอดทน รู้จักแบ่งปัน
2. เป็นที่เชื่อถือและศรัทธาจากสมาชิกในองค์กร เป็นผู้นำที่มีพฤติกรรมวิถีประชาธิปไตยเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชน จนเป็นที่เชื่อมั่น ศรัทธาบุคคลในองค์กรเกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล ได้แก่
1) หลักนิติธรรม
2) หลักคุณธรรม
3) หลักความโปร่งใส
4) หลักการมีส่วนร่วม
5) หลักสำนึกรับผิดชอบ
6) หลักการคุ้มค่า
การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารองค์กรทั้งภาคเอกชนและราชการ ถือเป็นการนำหลักการของกระบวนการประชาธิปไตยมาปรับใช้บริหารองค์กรและประเทศชาติต่อไป

จากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎร รับมอบของที่ระลึกจาก รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า การอบอมหลักสูตรดังกล่าวจัดโดย สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และพัฒนาทักษะในการบริหารงานแก่ผู้เข้ารับอบรมต่อไป


รัฐสภา● เกี่ยวกับรัฐสภา■ หน้าที่และอำนาจรัฐสภา■ โครงสร้างรัฐสภา■ ประธานรัฐสภา■ รองประธานรัฐสภา■ ทำเนียบประธานรัฐสภา■ คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.)● การประชุมร่วมกันของรัฐสภา■ ระเบียบวาระการประชุม○ ระเบียบวาระการประชุม
○ ระเบียบวาระการประชุม (Flip e-Book)
■ บันทึกการประชุม■ บันทึกการออกเสียงลงคะแนน■ รายงานการประชุม○ รายงานการประชุม
○ รายงานการประชุม (Flip e-Book)
■ สรุปผลงานการประชุม■ ข้อมูลการประชุมสภา (โมบายแอพฯ)○ ข้อมูลการประชุมสภา (iOS)
○ ข้อมูลการประชุมสภา (Android)
○ คู่มือการใช้งาน
■ ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา● คณะกรรมาธิการ■ คณะกรรมาธิการของรัฐสภา■ คณะกรรมาธิการร่วมกัน■ คณะกรรมาธิการในอดีต (สภาผู้แทนฯ ชุดที่ 25)■ รายงานของคณะกรรมาธิการ● เครือข่ายในวงงานรัฐสภา■ เครือข่ายรัฐสภาทั่วโลก■ เครือข่ายนิติบัญญัติ○ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
○ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
○ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
○ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
■ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ○ คณะกรรมการการเลือกตั้ง
○ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
○ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
○ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
○ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
■ องค์กรอื่นๆ○ ศาลยุติธรรม
○ ศาลปกครอง
○ ศาลรัฐธรรมนูญ
○ สำนักงานอัยการสูงสุด
● บริการรัฐสภา
สภาผู้แทนราษฎร● เกี่ยวกับสภาผู้แทนราษฎร■ หน้าที่และอำนาจสภาผู้แทนราษฎร■ โครงสร้างสภาผู้แทนราษฎร■ ประธาน/รองประธาน สภาผู้แทนราษฎร○ ประธานสภาผู้แทนราษฎร
○ ทำเนียบประธานสภาผู้แทนราษฎร
■ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร○ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
○ ทำเนียบผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
■ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร○ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
○ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โมบาย แอพฯ)
● การประชุมสภาผู้แทนราษฎร■ ระเบียบวาระการประชุม○ ระเบียบวาระการประชุม
■ ข้อปรึกษาหารือของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร○ แบบการแจ้งความจำนงขอปรึกษาหารือฯ
○ ข้อปรึกษาหารือของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
■ กระทู้ถาม○ ระเบียบวาระกระทู้ถามสดด้วยวาจา
○ ระบบตั้งกระทู้ถามสดด้วยวาจา
○ แบบฟอร์มตั้งกระทู้ถาม
○ แบบฟอร์มถอนกระทู้ถาม
○ กระทู้ถามที่ตอบในราชกิจจานุเบกษา
■ บันทึกการประชุม■ บันทึกการออกเสียงลงคะแนน■ รายงานการประชุม○ รายงานการประชุม
○ รายงานการประชุม (Flip e-Book)
■ สรุปผลงานการประชุม■ ข้อมูลการประชุมสภา (โมบายแอพฯ)○ ข้อมูลการประชุมสภา (iOS)
○ ข้อมูลการประชุมสภา (Android)
○ คู่มือการใช้งาน
■ ข้อมูลการประชุมในอดีต■ ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร● คณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร■ คณะกรรมาธิการสามัญ■ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาญัตติ■ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ■ คณะกรรมาธิการในอดีต (สภาผู้แทนฯ ชุดที่ 25)■ รายงานของคณะกรรมาธิการ● บริการสภาผู้แทนราษฎรวุฒิสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร● เกี่ยวกับสำนักงานฯ■ ประวัติความเป็นมา■ โครงสร้างสำนักงานฯ■ หน้าที่และอำนาจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์■ ผู้บริหารสำนักงานฯ■ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงระดับกรม■ ทำเนียบเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร■ แผนปฏิบัติราชการ● ประกาศ■ จัดซื้อจัดจ้าง ■ รับสมัครงาน■ เงินอุดหนุนการวิจัย● คุณธรรมความโปร่งใส■ แผนปฏิบัติราชการ■ แผนดำเนินงาน■ มาตรฐานการปฏิบัติงาน■ การให้บริการ■ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี■ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล■ การส่งเสริมความโปร่งใสและการป้องกันการทุจริต● ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ● บริการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาบริการทั้งหมด ■ ข้อมูลการประชุมสภา■ ข้อมูลกฎหมาย■ ข้อมูลต่างๆ ของรัฐสภา■ แจ้งเรื่องร้องเรียน■ ข้อมูลจากหน่วยงานภายนอก■ สำหรับบุคคลในวงงานรัฐสภา● Health_madia