Green Office

ผลการดำเนินการ ประจำปี 2566
หมวดที่ 2
การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก


หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
- ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- การจัดการมลพิษและของเสีย
- การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- ก๊าซเรือนกระจก
(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ ประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น
(4) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

2.1.1 (1) หลักสูตรและแผนการอบรม ประจำปี 2566 (แบบฟอร์มที่ 2.1(1)) 
2.1.1 (2) (3) ใบลงทะเบียนและประเมินผลบุคลากร (แบบฟอร์ม 2.1(2)) สรุปผลการเข้าร่วมและการวัดความรู้ต่อหลักสูตรการอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2566
2.1.1 (2) รายงานการดำเนินงานการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรม ประจำปี 2566 
โครงการเสวนา "Library Talk" ครั้งที่ ๔ เรื่อง "การขับเคลื่อน
สำนักงานสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน"

- โครงการ Library Talk ครั้งที่ ๕ เรื่อง การลดก๊าซเรือนกระจก
เพื่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม
(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก ประวัติ ประสบการณ์

2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

2.1.2 (1) (2) ประวัติวิทยากร 

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)
(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงา

​2.2.1 (1)-(4) แผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม 
2.2.1 (1)-(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสารคณะทำงานหมวด 2 (การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก) ดังนี้

2.2.1 คำสั่งสำนักการพิมพ์ ที่ 11/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนสำนักการพิมพ์เป็นสำนักสีเขียว (Green Office) ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2565
(เอกสารแนบ) (รูปภาพคณะทำงานฯ) 

2.2.1 คำสั่งสำนักการพิมพ์ ที่ 1/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการสำนักงานสีเขียว (Green Office) ลงวันที่ 24 มกราคม 2566
(เอกสารแนบ) (รูปภาพคณะทำงานฯ) 

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

 

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1 โดยมีเอกสารประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ตามหัวข้อ 2.2.1
2.2.2 รายงานสรุปแบบประเมินความพึงพอใจด้านการสื่อสาร และสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม

2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 

2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น Line, QR Code การประชุมเว็บไซต์
(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้เหมาะสม)

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

2.2.4 (1)-(2) มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และแนวทางการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม 
2.2.4 (2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
2.2.4 (3) มีการแสดงข้อเสนอแนะและการจัดการ

2.2.4 (4) มีการรายงานข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และการจัดการแก่ผู้บริหาร