Green Office

หมวดที่ 2
การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก


หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

2.1 มีการอบรมหรือกิจกรรมให้ความรู้แก่พนักงานเรื่องสำนักงานสีเขียว

 มีการกำหนดแผนและหลักสูตรการอบรมของสำนักงาน
มีผู้รับผิดชอบในการอบรมของสำนักงาน
หน่วยงานเคยจัดอบรมให้ความรู้กับพนักงานเรื่องใดบ้าง
     1) การขับเคลื่อนสำนักงานสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
     2) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม Green Office & Green Library ของสำนักวิชาการ
     3) การลดก๊าซเรือนกระจกเพื่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
 รูปแบบการอบรมให้ความรู้
 มีวิทยากรภายนอกมาอบรม
 มีการประเมินความรู้ก่อน – หลังการอบรม
 มีการจัดทำประวัติการอบรมพนักงาน
 มีการเก็บข้อมูลประวัติวิทยากรในการอบรบ

- การกำหนดแผน หลักสูตรการอบรม และผู้รับผิดชอบ
- โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงานเพื่อ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม Green Office & Green Library ของสำนักวิชาการ
- โครงการ Library Talk ครั้งที่ 4 เรื่อง การขับเคลื่อนสำนักงานสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- โครงการ Library Talk ครั้งที่ 5 เรื่อง การลดก๊าซเรือนกระจกเพื่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน

2.2.1 หน่วยงานมีช่องทางการสื่อสารเพื่อสร้างความร่วมมือในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง
 บอร์ดประชาสัมพันธ์ บริเวณ หอสมุดรัฐสภา
 ประกาศใน Website ของหอสมุดรัฐสภา
 ประกาศใน Facebook ของหอสมุดรัฐสภา
 การประชาสัมพันธ์ในกลุ่ม Line ของสำนักวิชาการ









           2.2.2 มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ด้านสิ่งแวดล้อมในเรื่องใดบ้าง

       1) องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 1
       2) องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 2
       2) องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 3
       3) องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 4
       4) องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 5
       5) องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 6



2.2.3 หน่วยงานมีการสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของพนักงานในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวอย่างไรบ้าง
      1) การจัดกิจกรรมประกาศเจตนารมณ์สำนักวิชาการ Go Green
      2) การเสนอแนวคิดในการออกแบบมาสคอตสำนักวิชาการ
      3) ทำป้ายรณรงค์สร้างการรับรู้และตระหนักรู้
      4) การร่วมขับเคลื่อนสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นสำนักงานสีเขียว

หอสมุดรัฐสภา สำนักวิชาการได้มีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงานผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังนี้

1) บอร์ดประชาสัมพันธ์ บริเวณหอสมุดรัฐสภา ชั้น 9
2) เว็บไซต์หอสมุดรัฐสภา
3) Facebook Fan Page หอสมุดรัฐสภา
4) Line กลุ่มของสำนักวิชาการ

โดยได้กำหนดแผนการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ ไว้ดังนี้
หมวด 1 ในทุกวันจันทร์
หมวด 2 ในทุกวันอังคาร
หมวด 3 ในทุกวันพุธ
หมวด 4 ในทุกวันพฤหัสบดี
หมวด 5 ในทุกวันศุกร์
หมวด 6 การจัดซื้อจัดจ้าง ในทุกวันศุกร์


หลักฐานการดำเนินการ

- องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 1
- องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 2
- องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 3
- องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 4
- องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 5
- องค์ความรู้เกี่ยวกับหมวด 6



- กิจกรรมประกาศเจตนารมณ์สำนักวิชาการ Go Green และการเดินรณรงค์
- มาสคอตสำนักวิชาการ
- ป้ายรณรงค์สร้างการรับรู้และตระหนักรู้

2.3 การรับข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม

มีการกำหนดช่องทางรับข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน ได้แก่
      1) กล่องรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน
      2) ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียนผ่านเว็บไซต์
      3) ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียนผ่าน QR Code
      4) ทำ Flow Chart การรับเรื่องร้องเรียนและการดำเนินการเมื่อได้รับเรื่องร้องเรียน

- ช่องทางการรับข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม และ Flow Chart
- ขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียนและการดำเนินการเมื่อได้รับเรื่องร้องเรียน